หนอนกออ้อย ในประเทศไทยมีอยู่ 5 ชนิด ชนิดที่เข้าทำลายระยะแตกกอมากกว่า ได้แก่ หนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอสีชมพู และหนอนกอสีขาว ส่วนชนิดที่ทำลายในระยะอ้อยเป็นลำมากกว่า...
โรคใบขาวของอ้อย เกิดจากเชื้อไฟโตพลาสมา ซึ่งเป็นเชื้อที่ต้องเจริญเติบโตอยู่ในต้นอ้อยหรือในแมลงพาหะเท่านั้น ด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันยังไม่สามารถแยกเชื้อออกจากต้นอ้อยได้...
โรคแส้ดำ เกิดเชื้อรา Ustilago scitaminea
ลักษณะอาการของโรค
ยอดอ้อยจะเป็นก้านแข็งยาว ลักษณะคล้ายแส้ มีกลุ่มสปอร์เชื้อราสีดำ ทำให้มองดูคล้ายแส้สีดำ...
แมลงนูนหลวง (Lepidiota stigma Fabricius) เป็นด้วงปีกแข็งที่มีขนาดตัวโต มีตั้งแต่สีขาว สีน้ำตาลอ่อน และสีน้ำตาลแดง การเข้าทำลายจะเกิดเป็นหย่อม...
เชื้อสาเหตุ : Colletotrichum falcatum
ลักษณะอาการ
โรคเหี่ยวเน่าแดง เกิดจากเชื้อรา อ้อยจะเริ่มเหลืองและต่อมาจะยืนต้นแห้งเป็นลำ ทยอยตายทั้งกอและลุกลามตายทั้งแปลง...
แมลงหวี่ขาวที่พบในประเทศไทย มี 3 ชนิด คือ Aleurolobus barodensis (Maskell), Neomaskelliabergii (signoret) Neomaskellia and Ropognis Corbette แต่ชนิดแรกพบมากที่สุด
ลักษณะการทำลาย
ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของแมลงหวี่ขาวอ้อยดูดกินน้ำเลี้ยงอยู่ใต้ใบอ้อย...
เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Ustilago scitaminea เชื้อราชนิดนี้อาศัยอยู่ได้ในทุกส่วนของต้นอ้อย ติดอยู่กับตอเก่า และอาจจะติดกับท่อนพันธุ์ที่นำมาปลูก...
โรคใบขาวของอ้อยเกิดจากเชื้อไฟโตพลาสมา ซึ่งเป็นเชื้อที่ต้องเจริญเติบโตอยู่ในต้นอ้อยหรือในแมลงพาหะเท่านั้น ด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันยังไม่สามารถแยกเชื้อออกจากต้นอ้อยได้...
หนอนกออ้อย ฟักออกมาจากไข่จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม กัดกินบริเวณผิวใบหรือหน่ออ้อยในระยะเวลาสั้นๆ จากนั้นจึงเจาะเข้าไปภายในลำต้นที่อยู่บริเวณผิวดินและอาศัยอยู่ภายใน...