homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
https://www.fapjunk.com
Alanya Eskort
alanya escort bayan mersin escort bayan
ümraniyetip maltepe escort alanya eskort pendik.net pendik escort anadolu yakası escort bayanlar escort bayan maltepe
ataşehir escort kadıköy escort kartal escort maltepe escort
проститутки
deneme bonusu veren siteler
casino levant casinolevant
gaziantep escort gaziantep escort
sakarya escort akyazı escort arifiye escort erenler escort eve gelen escort ferizli escort geyve escort hendek escort otele gelen escort sapanca escort söğütlü escort taraklı escort
sakarya escort akyazı escort arifiye escort erenler escort eve gelen escort ferizli escort geyve escort hendek escort karapürçek escort karasu escort kaynarca escort kocaali escort otele gelen escort pamukova escort sapanca escort söğütlü escort taraklı escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort
izmir escort kızlar alacatı escort Buca escort escort izmir
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

การเพิ่มผลผลิตอ้อยทั้งปริมาณและคุณภาพจากหลักวิชาการและประสบการณ์

การเพิ่มผลผลิต ‘อ้อย’ ทั้งปริมาณและคุณภาพ

จากหลักวิชาการและประสบการณ์

ข่าวผลผลิตอ้อย 100 ตันต่อไร่ ทำให้เกษตรกรชาวไร่ตื่นตัวและหันมาสนใจเกิดคำถามกันทั่วว่าเป็นไปได้ จริงหรือ?แต่หากทำตามหลักวิชาการ ผสานกับการจัดการที่ดีก็มีตัวอย่างบุคคลมายืนยันการทำ 50 ตันต่อไร่ว่าเป็นไปได้จริง ๆ ไม่ได้โม้การทำไร่อ้อยจากอดีตถึงปัจจุบัน การปลูกอ้อยเกิดความแตกต่างกันไป ทั้งมีการไถเปิดหน้าดินด้วยดริปเปอร์มีเครื่องปลูก มีรถตัด มีค่าน้ำมัน ค่าเช่าที่สูงขึ้นเป็น 1,000 บาท/ไร่ ต้นทุนโดยรวมสูงขึ้นและยังมีโรงงานน้ำตาลเพิ่มเรื่องเทคโนโลยีการให้ผลผลิตสูงราคาขายควรได้มากกว่า

1,000 บาท/ตัน เป็นต้น

ปัจจุบันเกษตรกรอย่างเราควรมีการปรับตัว เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงขึ้นแบบคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้นทาง บริษัท ยูนิไลฟ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด จึงมีความมุ่งมั่นในการเพิ่มคุณภาพและปริมาณผลผลิต โดยลงพื้นที่ทำงานร่วมกับเกษตรกรให้สามารถปฏิบัติได้-ค่าใช้จ่ายไม่แพง เกษตรกรรายย่อยต้องทำได้ แถมผลกำไรมากเกินคาดค่ะท่านที่อ่านแล้วลองนำไปใช้ดูนะคะ

การทำไร่อ้อยต้นแบบเพื่อเพิ่มผลผลิต

  1. การเตรียมดิน

การปรับพื้นที่ การระเบิดดาน เครื่องปรับพื้นที่ผาล 22 จาน (ปรับพื้นที่ได้เรียบกว่า) การไถระเบิดดานน่าจะต้องลึกกว่า 40 ซม. เพื่อเก็บน้ำฝนและลดน้ำขังในไร่ทำให้อ้อยเจริญเติบโตดี

  1. การปลูกและพันธุ์อ้อย เลือกพันธุ์ให้เหมาะสมกับพื้นที่ มีเปอร์เซ็นต์น้ำตาลสูง ทนต่อสภาพแวดล้อม
  • ท่อนพันธุ์ต้องอายุ 8-10 เดือน มีตาที่สมบูรณ์ ปราศจากโรคและแมลง (เพลี้ยแป้ง/โรคเน่าแดง)
  • ก่อนปลูกควรฉีดพ่นด้วย ซีวิว 20 ซีซี+นีโอ-ซิงค์พลัส 40 ซีซี+คัพเวอร์ 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร อาบโชกใส่กองท่อนพันธุ์ (ห้ามเก็บไว้เกิน 3 วันเพราะตาจะยาวและหน่อจะช้ำง่าย) ทำให้หน่องอกเร็วและหน่อใหญ่อวบ ถ้าอยู่ในช่วงแล้งหน่อที่งอกจะไม่ค่อยเหี่ยว
  • หากพบเพลี้ยแป้งมากับท่อนพันธ์ควรเติม เท็นสตาร์ 15 ซีซี เพื่อกำจัดเพลี้ยแป้ง
  • ระยะปลูก ควรเป็น 1.4 เมตรทำให้รถตัดสามารถเข้าไปทำงานได้ (ลดปัญหาแรงงาน)
  • ใส่ปุ๋ยรองพื้นด้วย 16-20-0 ผสม สารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย “ยูโอนิกซ์” หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน แล้ววางท่อนพันธุ์ ในระยะแรกอ้อยต้องการไนโตรเจนและฟอสฟอรัส แต่โพแทสเซียมจะใส่ในช่วงท้าย (ไม่ควรใส่ K รากอ้อยจะแพ้ความเค็ม)
  • รดน้ำให้ชื้นหลังปลูก แล้วคุม-ฆ่าหญ้าด้วย ซีโต้ อะมีทรีน อะทราซีน

 

  1. การบำรุงรักษา เพื่อเร่งการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตโดยหว่านหรือละลายน้ำฉีดโคนอ้อยด้วย

สารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย “ยูโอนิกซ์”

3.1 หลังปลูกควรตรวจแปลง

  • อ้อยอายุ 1 เดือน ตรวจเปอร์เซ็นต์การงอก
  • อ้อยอายุ 3 เดือน ตรวจลักษณะประจำพันธุ์
  • อ้อยอายุ 7-8 เดือน-ก่อนเก็บเกี่ยวตรวจความสมบูรณ์ก่อนนำไปทำพันธุ์

3.2 เพิ่มความทนสภาพอากาศร้อนหรือแล้ง แนะนำ ยูเรีย + สารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย “ยูโอนิกซ์”     อัตรา 2 กก. + ซีวิว 200 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นอาบโชกทั้งใบและต้นอ้อย จะทำให้อ้อยทนแล้ง เขียวใบตั้ง ไม่เหี่ยวเฉา

3.3 หากชะงักการเจริญเติบโตเพราะอากาศหนาวเย็น หรือดินความชื้นสูงมากเกินไป แนะนำ ยูเรีย+

สารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย “ยูโอนิกซ์” อัตรา 5 กก.+ ซีวิว 200 ซีซี +นีโอ-ซิงค์พลัส 400 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตรฉีดพ่นอาบโชกทั้งใบและต้นอ้อย จะทำให้อ้อยต้นอวบ แตกกอใหญ่ รากเยอะ เจริญเติบโตดีมาก

3.4 เพิ่มความหวานและเร่งการย่างปล้อง แนะนำฉีดลงโคนหรือผสมกับยาฆ่าหญ้าด้วยปุ๋ยเคมีสูตร

13-13-21, 16-16-16, 12-20-12 ผสม สารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย “ยูโอนิกซ์” อัตรา 10-15 กก. ต่อน้ำ 200 ลิตรควรเลือกให้ตรงกับลักษณะดิน

3.5 การใส่ปุ๋ยแต่งหน้าโดยใช้แรงงานคน หรือ MPI ลึก 20-25 ซม. สูตร 20-5-28 ผสม สารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย “ยูโอนิกซ์” อัตรา 30-35 กก./ไร่ หรือใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

3.6 พรวนล้มกำจัดวัชพืช ด้วย SRT-6 หรือเครื่องมืออื่น ๆ คราดสปริง 6 ซี่ ซับซอยเลอร์

3.7 บริหารจัดการน้ำในไร่อ้อยให้ตามความต้องการ อ้อยในแต่ละระยะการเจริญเติบโต

  1. การเก็บเกี่ยว

4.1 เก็บเกี่ยวเมื่อระยะสุกแก่ของอ้อยตามพันธุ์ และคำแนะนำสารสนเทศ

4.2 เก็บเกี่ยวตามความสุกแก่ โดยการวัดบริกซ์ก่อนตัด

4.3 ตัดอ้อยสดไว้ใบคลุมดิน ลดวัชพืช รักษาความชื้น

  1. การบำรุงตออ้อย

5.1 พรวนคลุกใบอ้อยลงดินในระยะเวลาที่เหมาะสมเพื่อการ

ปรับปรุงดิน

5.2 ฉีดอาบโชกตอหรือผสมพร้อมยาคุม-ฆ่าหญ้าด้วย ยูเรีย + สารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย “ยูโอนิกซ์”อัตรา 2 กก. ต่อน้ำ 200 ลิตร จะทำให้อ้อยแตกกอใหญ่เยอะ ทนแล้ง เขียวใบตั้ง ไม่เหี่ยวเฉาหญ้าตายดีกว่า

5.3 ใส่ปุ๋ย 16-16-8 ผสม สารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย “ยูโอนิกซ์” อัตรา 30-35 กก./ไร่ หรือใส่ตามค่าวิเคราะห์ดิน ช่วงพรวนร่องหรือทำรุ่นกำจัดวัชพืช

5.4 บำรุงหลังฝนด้วยปุ๋ยสูตร 20-5-28 + สารเพิ่มประสิทธิภาพปุ๋ย “ยูโอนิกซ์” อัตรา 30-35 กก./ไร่ หรือใส่ตามค่าวิเคราะห์ดิน

5.5 บริหารจัดการน้ำตามระยะการเจริญเติบโตของอ้อย

จากกระบวนการเพียงเท่านี้… ท่านสามารถจ่ายต้นทุนราคาถูก ได้ผลผลิตสูง “คุ้มค่า” เหมือนดั่งเช่นเกษตรกรที่ร่วมพิสูจน์มาพร้อมกับพวกเรา… ยูนิไลฟ์ ลองทำดูกันได้นะคะ

ขอขอบคุณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ที่กรุณาให้ตัวอย่างพันธุ์อ้อย มา ณ ที่นี้ ด้วยค่ะ

 

คำบรรยายใต้ภาพ

ภาพที่ 1 นายอดิศักดิ์ คำนวณศิลป์ (สวมเสื้อดำ) ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen
deneme bonusu hoşgeldin bonusu veren siteler deneme bonusu veren siteler deneme bonusu