homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
izmir escort bayan
ataşehir escort kadıköy escort anadolu yakası escort kartal escort maltepe escort ataşehir escort
buca escort izmir escort bayan izmir escort bayan alsancak escort
kucukcekmece escort bahcelievler escort istanbul escort esenyurt escort istanbul escort istanbul escort besiktas escort beylikduzu escort avcilar escort mersin escort
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

โรคเหี่ยวเขียวมะเขือเทศ

   เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia  solanacearum เป็นโรคสำคัญในมะเขือเทศ และพืชอีกหลายชนิด เช่น มะเขือยาว พริก มันฝรั่ง ยาสูบ ถั่วลิสง มีพืชอาศัยมากกว่า 250 ชนิด โรคสามารถทำลายได้ทุกระยะการเจริญเติบโต โดยอาการเริ่มแรก ยอดจะเหี่ยวลู่ลงขณะที่ใบยังเขียว โดยเหี่ยวตอนกลางวันและฟื้นตอนกลางคืน ต่อไปจะลุกลามจนเหี่ยวทั้งใบบนใบล่างและเหี่ยวทั้งต้น

   เมื่อนำต้นส่วนโคนไปตัดดูจะพบเนื้อเยื่อเป็นสีน้ำตาลเนื่องจากท่อน้ำท่ออาหารเสียหาย หากนำไปแช่ในน้ำสะอาด 2-5 นาที จะพบของเหลวขุ่นคล้ายน้ำนม (bacterial ooze) ไหลออกมาจากรอยตัดเป็นสาย ซึ่งเต็มไปด้วยเซลล์แบคทีเรียจำนวนมาก และทำให้พืชตายในที่สุด

การป้องกันกำจัด

  1. หมั่นตรวจและสังเกตแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบต้นแสดงอาการของโรคให้ถอนต้น และส่วนรากที่เหลือออก นำไปเผาทำลายนอกแปลง
  2. ก่อนปลูกควรขุดหรือไถพลิกกลับหน้าดินขึ้นมาตาก 2-3 ครั้ง ทิ้งระยะห่างพอสมควร ควรปลูกพืชอื่นสลับ เช่น ข้าวโพดไร่ ข้าวฟ่าง เป็นต้น เพื่อตัดทอนวงจรของโรคให้ลดน้อยลง
  3. เครื่องมือ เครื่องใช้ควรจุ่มแอลกอฮอล์ 70% หรือ คลอร็อก 10% ทุกครั้งที่ใช้เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อแพร่กระจาย
  4. สารป้องกันกำจัด
    การป้องกัน ใช้ ไมโครบลูคอป 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
    การรักษา ใช้ มิลล่า 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
  5. ทำให้พืชแข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อลดการเข้าทำลายของโรค ใช้  แคลเคลียร์ 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือในช่วงหน้าฝน ใช้ นีโอ-ไฮแคล 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร แคลเซียมทาง เคลื่อนย้ายในพืชได้ดีกว่า

แหล่งที่มา
สำนักทรัพยากรการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Plant Pathology Department, University of Florida

สอบถามเพมเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen